JusNet เสนอนโยบายสุขภาพแรงงานข้ามชาติเพื่อตอบรับวิกฤตโรคระบาด: กรณีศึกษาไวรัสโควิด-19

JusNet เสนอนโยบายสุขภาพแรงงานข้ามชาติเพื่อตอบรับวิกฤตโรคระบาด: กรณีศึกษาไวรัสโควิด-19 ให้มีมาตรการเชิงรุก การบริหารจัดการในภาวะเผชิญหน้ากับการระบาด เพิ่มประสิทธิภาพประกันสังคมและประกันสุขภาพ และบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติที่มุ่งความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ

สรุปเวทีสาธารณะ “ข้อเสนอเชิงนโยบายแรงงานนอกระบบและการท่องเที่ยว”

นักวิชาการ นำเสนองานวิจัยผลกระทบโควิด ต่อแรงงานนอกระบบ และแรงงานภาคการท่องเที่ยว พร้อมข้อเสนอเชิงนโยบาย ในการแก้ปัญหาทั้งระบบ

วาระเพื่อการเปลี่ยนแปลงหลังโควิด Better New Deal

“โรคโควิด  ส่งผลกระทบอย่างหนักต่ออุตสาหกรรมตัดเย็บเสื้อผ้า โรงงานทั้งเล็กทั้งใหญ่ จำนวนมากต้องหยุดการผลิต เพราะไม่มีออเดอร์จากองค์กรและตลาดขายส่ง เพราะตลาดขายปลีกเองก็ขายได้น้อยลง เพราะผู้บริโภคไม่มีกำลังซื้อ ของเราก็เหมือนกัน ในช่วงปิดเมือง โรงงานสมานฉันท์ก็หยุดงาน พอเปิดทำงานใหม่ ออเดอร์มีน้อยมาก คนทำงานก็มีรายได้ไม่พอกิน ตอนนี้ยังไม่รู้ว่าจะไปต่อกันยังไงดี”  มานพ แก้วผกา ตัวแทนโรงงานสมานฉันท์ เล่าไว้ในวงเสวนาเมื่อปลายเดือนตุลาคม 2563

แรงงานทราบแล้วเปลี่ยน ค่าจ้างรายชั่วโมงมาแน่ ! กอดงานให้แน่น ๆ เท่ากับกอดแฟน

แรงงานทราบแล้วเปลี่ยน ค่าจ้างรายชั่วโมงมาแน่ ! กอดงานให้แน่น ๆ เท่ากับกอดแฟน

ถก..การพัฒนาทักษะแรงงานสู่อาชีพใหม่หลังโควิด

แรงงานกับการพัฒนาทักษะสู่อาชีพใหม่หลังโควิด นักเศรษฐศาสตร์ ชี้เศรษฐกิจใช้เวลาฟื้นตัว 3-5 ปีเป็นอย่างต่ำ คนตกงานเพิ่ม การจ้างงานเสี่ยงมีความหลากหลายรูปแบบการจ้างงาน รายได้ลด ชั่วการทำงานลด การจ้างงานเต็มเวลาลดลง ภาครัฐย่ำรับมือหลักสูตรในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน มีการกระจายผ่านศูนย์ไปทั่วประเทศ และสามามารถเข้าไปใช้บริการได้ ลูกจ้างเสนอการพัฒนาต้องดูอาชีพที่ทำเงินได้ เน้นตลาดเพื่อความอยู่รอด

ความคิดการขับเคลื่อนเรื่องรัฐสวัสดิการ ท่ามกลางไทยกำลังเผชิญกับ “มหาวิกฤติเศรษฐกิจ?”

เรากำลังจะเจอกับปัญหาคนส่วนใหญ่ ตกงาน ขาดรายได้ในประเทศขาดกำลังซื้อ แต่เรามีภาวะเงินเฟ้อเงินฝืดเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน รัฐสวัสดิการจะเกิดขึ้นได้อย่างไรในยุค “มหาวิกฤติเศรษฐกิจ?”

แผนฟื้นฟูช่วยพลิกชีวิตแรงงาน หลังวิกฤตโควิด ต้องเพิ่มทักษะพัฒนาฝีมือ เพื่อสร้างงานสร้างรายได้

เสนอแผนฟื้นฟูต้องมีแนวคิดให้สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ที่สามารถทำให้แรงงานสร้างอาชีพ สร้างรายได้ เพื่อการฟื้นฟูด้วยเศรษฐกิจรากหญ้า พร้อมแนวคิดสร้าสวัสดิการสังคมมารองรับยามวิกฤติในอนาคต

โควิดพ่นพิษเหมาค่าแรงเสี่ยงตกงาน แบบไม่ได้ค่าชดเชย เสนอแผนฟื้นฟูพัฒนาแรงงานเพื่องานที่มั่นคง

ผู้นำแรงงาน ห่วงแรงงานอุตสาหกรรมยังไม่ฟื้น หวั่นตกงานแบบไม่เลิกจ้าง แต่ไม่ให้งานทำ หากเยียวยา 3 เดือนจบ ยังไม่ถูกเรียกกลับทำงาน โดยเฉพาะเหมาค่าแรง คงถูกทิ้งจำนวนมาก แม้ทำงานมานานกับบริษัท 6-7ปี รัฐควรคำนึงถึงแผนฟื้นฟูต้องสร้างอาชีพแรงงานทุกกลุ่มได้ เพื่อเศรษฐกิจที่มั่นคง

แรงงานโรงแรมและบริการ-มัคคุเทศก์ กระทบหนักเสนอแผนเยียวยา-รักษางาน และส่งเสริมไทยเที่ยวไทย

ภาคีสังคมแรงงานสู้วิกฤตโควิด สหพันธ์แรงงานธุรกิจโรงแรมฯ ร่วมกับมัคคุเทศ ยื่นข้อเสนอกระทรวงแรงงานให้เยียวยาเพื่อรักษางาน พร้อมส่งเสริมไทยเที่ยวไทย เนื่องจากภาคการท่องเที่ยวกระทบหนัก

แรงงานภาคบริการโรงแรม เสนอรัฐใช้เงินฟื้นฟูสร้างงาน เชื่อช่วยเศรษฐกิจได้

แรงงานภาคบริการ โรงแรม เสนอรัฐแก้ปัญหาให้ตรงจุด เชื่อเงินฟื้นฟูช่วยได้หากทำให้เกิดการจ้างงาน เงินก็สะพัด เศรษฐกิจฟื้นแต่ต้องทำเร็ว หากช้าจะบานปลาย

สหภาพแรงงาน ชวนมองหลังโควิด-19 การจ้างงานแบบใหม่ ซ้ำเติมลูกจ้าง

สหภาพแรงงาน ชวนมองการจ้างงานแบบใหม่หลังโควิด-19 ทำให้ขาดความมั่นคง และไร้การคุ้มครองคนทำงาน พร้อมเสนอรัฐควรปรับมาตรการกฎหมายให้เท่าทัน ต้องฟื้นฟูอาชีพ พัฒนาทักษะเพื่อเสริมอาชีพสำรอง และส่งเสริมการออม

ผู้นำแรงงาน ห่วงตกงานหางานไม่ได้ เสนอรัฐฟื้นฟูการจ้างงานเพื่อความมั่นคง

สาวิทย์ ชี้การช่วยเหลือคนที่มีรายได้น้อย คนที่มีอาชีพไม่มั่นคง คนตกงาน ว่างงาน น่าจะเป็นประเด็นที่สำคัญ ควรเป็นประเด็นหลัก ให้รีบฟื้นฟูอาชีพใหม่เพื่อสร้างงานที่มั่นคง

1 2 3