แม้ไม่เข้าใจก็ต้องทำใจ เมื่อความมั่นคงของรัฐมาก่อนความเป็นคน

​เปิดเนื้อหาพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2560 : “แม้ไม่เข้าใจก็ต้องทำใจ เมื่อความมั่นคงของรัฐมาก่อนความเป็นคน”

คสรท. แถลง ค้านขยายอายุรับเงินบำนาญชราภาพจากอายุ 55 เป็น 60 ปี

คสรท. จัดแถลงข่าว คัดค้าน! การขยายอายุรับเงินชราภาพของผู้ประกันตน จากอายุ 55 เป็น 60 ปี

กระทรวงแรงงาน แถลงมอบของขวัญปีใหม่ 10 ชิ้น

รัฐมนตรีแรงงาน แถลงข่าวมอบของขวัญปีใหม่จากใจกระทรวงแรงงาน ให้แก่ลูกจ้าง ผู้ประกันตน และนายจ้างในสถานประกอบกิจการ รวม 10 ชิ้น

พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๓

พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓
ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้

พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๘

พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
ให้ไว้ ณ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรมีกฏหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยคำแนะนำและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้

พ.ร.บ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯพ.ศ.๕๔

พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นปีที่ ๖๖ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ
ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงาน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา
ดังต่อไปนี้

พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓

พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๐๗ ตอนที่ ๑๖๑ ลงวันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๓ มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒ กันยายน ๒๕๓๓ ได้รับการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๖๓ ก ลงวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๓๗ และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๓๘ เป็นต้นไป และพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๒๒ ก ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๒ และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๔๒ เป็นต้นไป