การเปลี่ยนผ่านพลังงาน ความเป็นธรรมต่อแรงงานและชุมชน

เครือข่ายแรงงานและชุมชนสิ่งแวดล้อมร่วมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ “การเปลี่ยนผ่านพลังงาน…ความเป็นธรรมต่อแรงงานและชุมชน” อึ้งพบนโยบายรัฐกับการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน -การพัฒนาEECผลกระทบกับ คน สัตว์ พืช แหล่งน้ำ การท่องเที่ยว

“3 ปี ผ่านไป บอกรักให้จำใจจากฯ” 12 ก.ค. 2559 ค่าย TOYOTA VS 12 ก.ค. 2562 ค่าย FORD & MAZDA

“3 ปี ผ่านไป บอกรักให้จำใจจาก บอกจากให้ไปด้วยใจ ไปอย่างไรให้มีคุณค่า”
12 กรกฎาคม 2559 ค่าย TOYOTA VS 12 กรกฎาคม 2562 ค่าย FORD & MAZDA

ภาวะโลกร้อน ผลต่อการพัฒนา ภาคการขนส่งที่ใช้ไฟฟ้า และการจ้างงาน

ผลการประชุมลดภาวะโลกร้อน ผลต่อการพัฒนาภาคการขนส่งที่ใช้ไฟฟ้าและการจ้างงาน? ในวงการเสวนา นักวิชากการเสนอแนวทางการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรม ฝ่ายผู้ประกอบการ เห็นทิศทางปรับตัวของธุรกิจ เตรียมตัวสู่การเปลี่ยนแปลงในอนาคต ด้านรัฐรอดูนโยบาย ซึ่งเตรียมส่งเสริมและพัฒนาแรงงาน ท่ามกลางสังคมแรงงานสูงวัย 

สร้าง Productivity ภาคอุตสาหกรรม ด้วย Happy Relation & Happy Occupation

ข้อเสนอต่อการเปลี่ยนผ่านการจ้างงานในประเทศไทยยุค Disruption โจทย์ที่ท้าทาย คือ ทำอย่างไรสถานประกอบการจะมีระบบและนโยบายการจัดการเพื่อ”สร้างสุข ลดทุกข์ให้คนงาน” เพื่อเปลี่ยนผ่านการจ้างงานที่เป็นธรรมนี้ได้จริง

288 ชีวิตเฮ บริษัทยกเลิกคำสั่งย้ายให้ทำงานที่เดิมตำแหน่งเดิม

คนงานอิตาเลียน 288  คนเฮ หลังบริษัทยกเลิกคำสั่งย้ายพนักงานทั้งหมด พร้อมให้ กลับเข้าทำงานในตำแหน่งเดิมสถานที่ทำงานเดิม และรับปากจากนี้ หากมีการเปลี่ยนแปลง จะดำเนินการ ตามกฏหมายแรงงานโดยเคร่งครัด

การเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรม: บทเรียนของการลดโลกร้อนจากประเทศเยอรมนี และข้อคิดสำหรับประเทศไทย

บทความนี้จึงจะพยายามอธิบายถึงกรอบแนวคิด “การเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรม” โดยในส่วนแรกจะได้กล่าวถึงความหมายของแนวคิดดังกล่าว และเพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนขึ้น ในส่วนที่สองจะได้กล่าวถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศเยอรมนีในประเด็นดังกล่าว ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากการไปดูงานที่ประเทศเยอรมนีในระหว่างวันที่ 7-13 ตุลาคม พ.ศ. 2561[1] และในส่วนสุดท้ายจะได้นำเสนอข้อคิดในประเด็นดังกล่าวสำหรับประเทศไทย

การเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมต่อแรงงาน ประสบการณ์จากเยอรมัน ตอนที่ 3 “กรรมกรชนชั้นกรรมาชีพ กับการจ้างงานที่เปลี่ยนไป”

 การเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมหรือJust Transition มีหลากหลายมุมที่มีการถกเถียงทั้งมุมสหภาพแรงงาน มุมมองของภาคประชาสังคม หรือNGOsที่เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น แม้มีการจ้างงานในตำแหน่งงานใหม่ แต่ว่า ระบบการจ้างงานที่เห็นเป็นบริษัทขนาดเล็ก และไม่มีการรวมตัวกันเป็นสหภาพแรงงาน ตัวเลขของสมาชิกสหภาพแรงงานที่ลดลง กลายเป็นข้อกังวลด้านอำนาจต่อรอง แตก็มีแนวคิดการรวมตัวแบบใหม่ๆ เช่นกัน งานที่ไม่มั่นคงภายใต้สภาพการจ้างงานใหม่ๆ ที่เพิ่มขึ้นของแรงงานรุ่นใหม่ มันคือความท้าทายขบวนการแรงงานในอนาคต เช่นกัน 

การเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมต่อแรงงาน ประสบการณ์จากเยอรมัน ตอนที่ 2  “หากว่าที่นี่เป็นบ้านเรา..นี่คือเหมืองถ่านหิน นี่คือโรงไฟฟ้า…”

กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรม อาจไม่ใช่เพียงสหภาพแรงงาน และคุณภาพชีวิตที่ดีนอกรั่วโรงงาน 16 ชั่วโมง ที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืนนี่คือภาพอนาคต หากที่นี่คือบ้านเรา

“การเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมต่อแรงงาน ประสบการณ์จากเยอรมัน” ตอนที่ 1 “ไม่มีการจ้างงานบนดาวเคราะห์ที่ตายแล้ว”

แม้ว่า จะไม่มีการจ้างงานบนดาวเคราะห์ที่ตายแล้ว แต่ว่า ก็ไม่ควรละเลยเรื่องคุณค่าของแรงงานเหล่านั้นที่เคยผลิตไฟฟ้าเพื่อการพัฒนาประเทศและเศรษฐกิจ การที่สหภาพแรงงานสากลลุกมาปกป้องสมาชิกด้วยการเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมต่อแรงงานด้วย ซึ่งJust Transition ต้องเป็นธรรมและมีส่วนร่วมกันทุกฝ่าย

วันงานที่มีคุณค่า แรงงานยื่นหมื่นชื่อ ยกเลิกการจ้างงานที่ไม่มั่นคง

วันงานที่มีคุณค่า คสรท. สรส.และเครือข่ายแรงงาน ร่วมรณรงค์เนื่องในวันงานที่มีคุณค่าสากล หรือ Decent Work Day โดยชูประเด็นเรียกร้อง คือ ขอให้รัฐบาลยกเลิกการจ้างงานที่มีคุณค่า ส่วนเครือข่ายแรงงานเพื่อการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรม หรือ Just transition ยื่นข้อเสนอภาวะโลกร้อนเช่นกัน

1 2 3