“จากบ้านมาเป็นแรงงาน”

อดีตแรงงานจากประเทศไทยหลายคนก็ตั้งใจจะกลับมาอยู่บ้านแต่รายได้ที่ได้ไม่เพียงพอกับภาระค่าใช้จ่ายทำให้ต้องกลับไปเป็นแรงงานในประเทศไทยอีกครั้ง

เราควรเก็บรัฐวิสาหกิจไว้ใช้ประโยชน์ต่อหรือไม่ (ตอนที่ 1)

เราจะแก้ปัญหารัฐวิสาหกิจได้อย่างไร? เพื่อให้สามารถใช้รัฐวิสาหกิจให้เกิดประโยชน์กับประเทศชาติและประชาชน โดยวิเคราะห์การประกอบกิจการของรัฐวิสาหกิจ เพื่อหาข้อสรุป ด้วยการใช้เครื่องมือวิเคราะห์ SWOT Analysis ได้??

พงศ์ฐิติ พงศ์ศิลามณี รองเลขาธิการ สรส. ฝ่ายวิชาการ 17 ก.พ. 2559

มารู้จักความเป็นมาของรัฐวิสาหกิจไทยกันเถอะ

ธุรกิจของรัฐวิสาหกิจไทยเป็นการวางโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานของประเทศ นับวันจะกลายเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ในทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน จึงกลายเป็นแหล่งตักตวงผลประโยชน์จากนักการเมืองและนายทุน

สิทธิเสรีภาพชุมชนท้องถิ่นภายใต้ม. 44

รัฐบาลชุดนี้มีเจตนารมณ์ชัดเจนว่า จะ เข้ามาเพื่อต้องการสร้างระบบประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ ต้องการลดความเหลื่อมล้ำของประชาชนในชาติ แต่กลไกการใช้อำนาจของรัฐบาลโดยเฉพาะมาตรา 44 ที่มีอำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาด เริ่มปฏิรูประบบแผนที่ให้เป็นมาตรฐานเดียว เริ่มนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซุปเปอร์ครัสเตอร์ ที่เอื้อประโยชน์ต่อนักลงทุน การจัดการน้ำภาคอุตสาหกรรม

เมื่อลูกจ้างที่กำลังจะอดตายกลายเป็นภัยคุกคามความไม่มั่นคงของชาติ

ภายใต้สถานการณ์การเมืองการปกครองที่รัฐบาลมีนโยบายในการสร้างความปรองดองและลดความเหลื่อมล้ำ รวมถึงนโยบายส่งเสริมการลงทุน โดยมีกฎหมายพิเศษเป็นเครื่องมือสำคัญในการผ่าทางตันของทุกๆปัญหา

วิไลวรรณ แซ่เตีย และสองมือของป้าๆฉันทนา ในวันที่ “แสนเหนื่อย”

หลังจากช่วยพ่อแม่ทำนาอยู่หลายปี พออายุได้ 19 “วิไลวรรณ แซ่เตีย” ก็เข้ามาหางานทำในเมืองใหญ่ ต่างบ้านต่างถิ่นเหมือนกับเพื่อนๆ ด้วยความรู้เพียง ป.4 เธอได้งานเป็นสาวฉันทนาในโรงงานทำถุงเท้าแห่งหนึ่งย่านอ้อมน้อย จังหวัดสมุทรสาคร

หัวใจของแรงงานสัมพันธ์ และวิธีการ “บ้องตื้น”ของผู้มีอำนาจ

นึกถึงงานเขียนชิ้นหนึ่งเรื่อง “ฉันทนาแก่-หมาพิการ และกำแพงสูงกระทรวงแรงงาน” ที่เขียนไว้ตั้งแต่ปี 2548 สมัยยังวิ่งหาข่าวอยู่กระทรวงแรงงาน เลยนำมาแบ่งปันอีกครั้งหนึ่ง

บทเรียนของ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ มองผ่านสหภาพแรงงานซันโคโกเซ : ความอำมหิตของกระทรวงแรงงานยุคใต้ท็อปบูท

“พี่ป่านๆ ตอนนี้ผมอยู่โรงพัก สรุปว่าผมต้องแจ้งเรื่อง พ.ร.บ.ชุมนุมไหมครับ” เสียงของประธานสหภาพแรงงานผลิตภัณฑ์ยานยนต์ไทยส่งผ่านมาทางโทรศัพท์

ย้อนมองสถานการณ์แรงงานข้ามชาติในรอบปี 2558 : ได้สิทธิแรงงานน้อยนิด อยู่อย่างปกปิด และมักถูกลืมในกฎหมายคุ้มครองแรงงานเสมอ[1]

วันนี้ประเทศไทยจะน่าอยู่ได้คงไม่ได้มีเพียงเฉพาะการคุ้มครองเฉพาะแรงงานกลุ่มหนึ่งกลุ่มใดเท่านั้น แผ่นดินไทยที่อยู่เย็นเป็นสุขต้องปกป้องชีวิตแรงงานทุกคนบนแผ่นดิน เมื่อแรงงานทั้งผอง คือ พี่น้องกัน

หาเหตุผลในการใช้ม.44 ยุบ-ตั้งบอร์ดสปส.

คณะรักษาความสงบแห่งชาติใช้มาตรา 44 ยุบบอร์ดประกันสังคม บอร์ดแพทย์ และบอร์)กองทุนเงินทดแทน พร้อมระงับการสรรหา คัดเลือกบอร์ดชุดใหม่ จัดการแต่งตั้งเอง

สหภาพแรงงานซันโคโกเซ : กลฉ้อฉลแบบ “ไพร่ฟ้า-ข้าไทย” ในระบบแรงงานสัมพันธ์

กฎหมายแรงงานสัมพันธ์มีวัตถุประสงค์สำคัญ คือ การสร้างระบบแรงงานสัมพันธ์ที่นำมาซึ่งการทำงานร่วมกันระหว่างนายจ้างกับแรงงานให้สามารถอยู่และทำงานร่วมกันได้อย่างสันติสุข และมีการแบ่งปันผลประโยชน์จากการทำงานร่วมกันอย่างเป็นธรรม

“จาก 2537 ถึง 2558” : 21 ปี บนเส้นทางการผลักดันให้สำนักงานประกันสังคมบริหารงานเป็นอิสระจากระบบราชการ

สิ่งที่ยังเป็นห่วงในกองทุนประกันสังคมคือ กองทุนในปัจจุบันเติบโตขึ้นเรื่อยๆ การบริหารงานในระบบราชการก็จะไม่คล่องตัว ไม่สามารถลงทุนหรือตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว

1 4 5 6 27