แนวโน้มเศรษฐกิจการเมืองส่งผลระทบต่อสังคมและแรงงาน

นักวิชาการวิเคราะห์รัฐบาลพิเศษไม่สนใจแรงงาน กฎหมายแรงงาน-ค่าจ้างขั้นต่ำ-ประกันสังคม ล้วนได้มาช่วงรัฐบาลประชาธิปไตย ระบุต้องจริงใจปฏิรูปภาษี ปฏิรูปที่ดินเกษตรกรเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ ห่วงอนาคตผู้สูงวัยไร้สวัสดิการดูแล เสนอรัฐพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน สร้างนวัตกรรมใหม่

ชี้พรรคแรงงานไม่จำเป็น ต้องรวมตัวสร้างอำนาจต่อรองการเมือง มองปัญหาสังคมกว้าง

ผลสำเร็จทางการเมือง เป็นผลมาจากการต่อสู้ ถ้าจะให้ได้รับความสำเร็จต้องให้ความสำคัญกับการวางยุทธศาสตร์เพื่อหาวิธีการที่จะทำให้ได้มาซึ่งกฎหมายและนโยบายที่ดีต่อแรงงาน การเรียนรู้จากเยอรมันจะช่วยในการกำหนดยุทธศาสตร์ได้ดีเพราะเคยผ่านประสบการณ์มาก่อน และเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเมือง ต้องมีความร่วมมือแบ่งงานกันทำระหว่างสหภาพแรงงานกับพรรคการเมือง ขบวนการแรงงานต้องปรับมุมมองทางสังคมให้กว้างขึ้น ให้ไกลไปกว่าแค่เรื่องผลประโยชน์ของตัวเอง และต้องสร้างเอกภาพในขบวนการแรงงานเพื่อสร้างอำนาจต่อรองทางการเมือง

แรงงานกับการเมือง ข้อเท็จจริงจากประวัติศาสตร์แรงงานไทย

รายงาน กลุ่มศึกษามุมมองใหม่ ครั้งที่ 2
เรื่อง แรงงานกับการเมือง กรณีศึกษาจากประวัติศาสตร์แรงงานไทย
21 กันยายน 2557 ณ ห้องประชุมศุภชัย ศรีสติ พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย มักกะสัน กรุงเทพฯ
จัดโดย มูลนิธิพิพิธภัณฑ์แรงงานไทย ร่วมกับ มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท

แรงงานกับการเมือง กรณีศึกษาจากไทยและเยอรมนี

กลุ่มศึกษามุมมองใหม่ ครั้งที่ 2 / วันอาทิตย์ที่ 21 กันยายน 2557
แรงงานกับการเมือง (ตอน 1) : กรณีศึกษาจากประวัติศาสตร์แรงงานไทย
กลุ่มศึกษามุมมองใหม่ ครั้งที่ 3 / วันอาทิตย์ที่ 12 ตุลาคม 2557
แรงงานกับการเมือง (ตอน 2) : กรณีศึกษาเรื่องสหภาพแรงงานกับพรรคการเมืองในเยอรมนี

รายงาน กลุ่มศึกษามุมมองใหม่ ครั้งที่ 1 เรื่อง การคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทย บทเรียนจากลาตินอเมริกา

รายงาน กลุ่มศึกษามุมมองใหม่ ครั้งที่ 1
เรื่อง การคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทย บทเรียนจากลาตินอเมริกา

โครงการกลุ่มศึกษามุมมองใหม่ แรงงานกับการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจและการเมือง

โครงการกลุ่มศึกษามุมมองใหม่
แรงงานกับการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจและการเมือง
จัดโดย มูลนิธิพิพิธภัณฑ์แรงงานไทย
ร่วมกับ มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท (FES)